วันเสาร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

บรรยากาศสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ราชบุรี_ตอน 3

วีดีโอสัมภาษณ์ นายพิชัย เลาหชวลิต อายุ 81 ปี
เกี่ยวกับ "บรรยากาศสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ราชบุรี ตอน 2"
เมื่อประมาณเดือน มกราคม 2550

ออกอากาศทางรายการสะพายกล้องท่องเที่ยวสถานีโทรทัศน์เคเบิลทีวีท้องถิ่นราชบุรี HCTV ช่อง 7
ติดต่อสนับสนุนรายการ 0-3231-0262


ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=GbNqBIMUzPs
เจ้าของ : s463368

บรรยากาศสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ราชบุรี_ตอน 2

วีดีโอสัมภาษณ์ นายพิชัย เลาหชวลิต อายุ 81 ปี
เกี่ยวกับ "บรรยากาศสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ราชบุรี ตอน 2"
เมื่อประมาณเดือน มกราคม 2550

ออกอากาศทางรายการสะพายกล้องท่องเที่ยวสถานีโทรทัศน์เคเบิลทีวีท้องถิ่นราชบุรี HCTV ช่อง 7
ติดต่อสนับสนุนรายการ 0-3231-0262

ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=8Usc9v4ljAk
เจ้าของ : s463368

วันศุกร์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

บรรยากาศสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ราชบุรี_ตอน 1

วีดีโอสัมภาษณ์ นายพิชัย เลาหชวลิต อายุ 81 ปี
เกี่ยวกับ "บรรยากาศสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ราชบุรี ตอน 1"
เมื่อประมาณเดือน มกราคม 2550

ออกอากาศทางรายการสะพายกล้องท่องเที่ยว
สถานีโทรทัศน์เคเบิลทีวีท้องถิ่นราชบุรี HCTV ช่อง 7
ติดต่อสนับสนุนรายการ 0-3231-0262

ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=o8WFMeaMttI
เจ้าของ : s463368

วันอังคารที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2553

เที่ยวโป่งยุบ แวะอาบน้ำร้อน

รายการ "Amazing ราชบุรี"
ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ท้องถิ่น จ.ราชบุรี HCTV ช่อง 7
ติดต่อสนับสนุนรายการ 0-3231-0262
http://www.hctvtoyou.com/

ตอนที่ 1

ตอนที่ 2

วันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

การแข่งขันสิงโตเสาดอกเหมย งานราชบุรีไชน่าทาวน์ 2010

“การแข่งขันกีฬาเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมย" ถือว่าเป็นการยกระดับมาตรฐานการแข่งขันกีฬาเชิดสิงโตในเมืองไทยให้ได้ระดับมาตรฐานสากลและยังเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ในการแข่งขันของนักกีฬา รวมทั้งส่งเสริมให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการหันมาฝึกซ้อมกีฬาเชิดสิงโตเพื่อเข้าร่วมการแข่งขันในครั้งต่อๆ ไป

ชาวจีนมีความเชื่อกันว่าผู้ใดได้ชมการเชิดสิงโต จะมีโชคลาภ เจริญรุ่งเรือง และเป็นสิริมงคล จึงได้มีการสืบทอดการแสดงมากว่าพันปี ในสมัยก่อน การเชิดสิงโตที่นิยมแสดง มี 2 ประเภท ได้แก่ การเชิดสิงโตแบบโบราณ คือ การแสดงกายกรรมต่อตัว และ การเชิดสิงโตแบบปีนกระบอกไม้ไผ่ ต่อมาจึงได้มีการพัฒนาขึ้นมาอีกหนึ่งประเภท ได้แก่ การเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมย ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากในประเทศแถบเอเชีย อาทิ จีน มาเลเซีย ไต้หวัน ฮ่องกง รวมทั้งประเทศไทย

ปัจจุบันการเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมยนี้ได้รับการบรรจุให้เป็นกีฬาอีกชนิดหนึ่ง และได้รับการจัดไว้ในการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์อีกด้วย การแข่งขันกีฬาเชิดสิงโตในประเทศไทย ได้รับการบรรจุเป็นกีฬาแห่งชาติครั้งแรก เมื่อปีพ.ศ. 2549 ในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 35 “สุพรรณบุรีเกมส์” ที่จังหวัดสุพรรณบุรี

โดยกีฬาชนิดนี้อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมวูซูแห่งประเทศไทย เป็นกีฬาประเภททีม ซึ่งประกอบด้วย ผู้เชิดหัวสิงโต 1 คน ผู้เชิดหางสิงโต 1 คน และผู้เล่นวงมโหรีประกอบการเชิดอีก 6 คน ระยะเวลาในการแข่งขันไม่ต่ำกว่า 10 นาที และ ไม่เกิน 15 นาที อุปกรณ์ที่ใช้เป็นเสาดอกเหมย ความยาวไม่ต่ำกว่า 10 เมตร และ ไม่เกิน 20 เมตร ความสูงไม่ต่ำกว่า 60 เซนติเมตร และไม่เกิน 2 เมตร ส่วนการตัดสินใช้หลักกติกาสากลทั่วไป

คลิบวีดีโอการแข่งขันเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมยรอบชิงชนะเลิศ เมื่อคืนวันที่ 22 ก.พ.2553 ในงานราชบุรีไชน่าทาวน์ 2010


ทีมศิษย์หลวงพ่อเชียงแสน


ทีมศิษย์ลูกหลวงพ่อแพร


ศิษย์เจ้าแม่กวนอิม


ศิษย์เจ้าพ่อกวนอู

หลวงพ่อโอภาษี


ลูกหลวงปู่เจ๊ก

วันอาทิตย์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

วิวาห์หมู่ตลาดน้ำเหล่าตั๊กลั๊ก

รายการ"เก็บมาฝาก"
ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ท้องถิ่น จ.ราชบุรี HCTV ช่อง 7
ติดต่อสันบสนุนรายการ 0-3231-0262
http://www.hctvtoyou.com

ตอนที่ 1

ตอนที่ 2

ตอนที่ 3

ตอนที่ 4

ตอนที่ 5



ตอนที่ 6

ตอนที่ 7

ตอนที่ 8

ชมกล้วยไม้ ไหว้เจ้าแม่กวนอิม

รายการ "Amazing ราชบุรี"
ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ท้องถิ่น จ.ราชบุรี HCTV ช่อง 7
ติดต่อสนับสนุนรายการ 0-3231-0262
http://www.hctvtoyou.com

ตอนที่ 1

ตอนที่ 2